รูปแบบการแสดง
ตัวชี้วัด มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง (ศ 3.1 ม.3/3)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
รูปแบบการแสดง
- การแสดงเดี่ยว
- การแสดงเป็นหมู่
- การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
- การแสดงละคร
1.การแสดงเดียว
การแสดงเดี่ยว คือ การแสดงที่มีผู้แสดงเพียงคนเดียว มุ่งเน้นความสวยงามของการเคลื่อนไหวไหวร่างกาย เป็นการแสดงฝีมือของผู้แสดงที่ร่ายรำถูกต้องตามท่วงทำนอง จังหวะเพลง และงดงามตามแบบแผน เช่น
1.1 รำฉุยฉายพราหมณ์ คลิกชม
1.2 รำมโนราห์บูชายัญ คลิกชม
1.3 รำฉุยฉายวันทอง คลิกชม
1.4
1.5
1.6
2.การแสดงหมู่
การแสดงเป็นหมู่ คือการแสดงที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ใช้เพลงบรรเลง ประกอบการแสดงทั้งมีเนื้ิอร้องและไม่มีเนื้อร้อง เน้นความความพร้อมเพรียง เช่น
2.1 รำแม่บทเล็ก คลิกชม
2.2 ระบำมาตรฐาน คลิกชม
2.3 ระบำโบราณคดี คลิกชม
2.4 รำวงมาตรฐาน คลิกชม
2.5 รำฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง คลิกชม
2.6 รำประเลง คลิกชม
2.7 ระบำมฤคระเริง คลิกชม
3.การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
3.1 พระรามตามกวาง คลิกชม
3.2 รจนาเสี่ยงพวงมาลัย คลิกชม
3.3 ย่าหรันตามนกยูง คลิกชม
3.4 เมขลารามสูร คลิกชม
3.5
3.6
4.การแสดงละคร
การแสดงละคร คือ การแสดงที่ดำเนินเป็นเรื่องราว ผู้แสดงรับบทบาทตัวละครเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยใช้การขับร้อง การแสดงออกของลีลาท่ารำ และการใช้เพลงประกอบตามแผนของการแสดงละครแต่ประเภท การละครมีวิวัฒนาการตามยุคสมัย แบ่งออกได้ดังนี้
ิ 4.1 ละครรำแบบดั้งเดิม
4.1.1 ละครชาตรี คลิกชม
4.1.2 ละครใน คลิกชม
4.1.3 ละครนอก คลิกชม
4.2 ละครรำแบบปรับปรุง
4.2.1 ละครดึกดำบรรพ์ คลิกชม
4.2.2 ละครพันทาง คลิกชม
4.2.3 ละครเสภา คลิกชม
4.3 ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่
4.3.1 ละครร้อง คลิกชม
4.3.2 ละครสังคีต คลิกชม
4.3.3 ละครพูด คลิกชม
4.3.4 ละครอิงประวัติศาสตร์ คลิกชม
4.3.5 ละครเพลง คลิกชม
4.3.6 ละครวิทยุ คลิกชม
4.3.7 ละครโทรทัศน์ คลิกชม